ปั่นงาน เตรียมพรีเซนต์ อ่านหนังสือสอบจนดึก หรือปัจจัยอื่นๆ ที่ทำให้หลายคนต้องนอนน้อยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่จะทำอย่างไรให้ตื่นมาแล้วยังใช้ชีวิตต่อได้โดยไม่สะลึมสะลือ
Top to Toe เอพิโสดนี้ เปิด 2 งานวิจัยที่สร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการนอน จากเดิมที่รู้กันว่าต้องนอน 6-8 ชั่วโมง จริงๆ แล้วต้องนอนกี่ชั่วโมงจึงจะเสี่ยงโรคร้ายน้อยที่สุด ช่วงเวลาหลับฝันสำคัญอย่างไร และหากจำเป็นต้องนอนน้อยจะทำอย่างไรให้มีช่วงการหลับลึกซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการฟื้นฟูสมองและร่างกาย เพียงพอให้มีแรงในวันต่อไป
Time Index
00:00 นอนไม่พอ ปัญหาใหญ่วัยเรียน-วัยทำงาน
02:34 นอนกี่ชั่วโมงเสี่ยงโรคร้ายน้อยที่สุด
07:19 ถ้าจำเป็นต้องนอนน้อยควรทำอย่างไร
10:37 ช่วงหลับฝันสำคัญไม่แพ้ช่วงหลับลึก
12:21 สัดส่วนที่ดีของหลับตื้น หลับลึก หลับฝันต่อคืน
14:48 การทำงานของสมอง หลับฝัน และความทรงจำระยะยาว
16:50 ถ้านอนน้อย เลือกตื่นหรือนอนเวลาเดิม
18:30 หลอกร่างกายให้นอนหลับ
ฝากเพิ่มอ้างอิงในคอมเมนต์
อ้างอิง:
Zheng, N.S., Annis, J., Master, H. et al. Sleep patterns and risk of chronic disease as measured by long-term monitoring with commercial wearable devices in the All of Us Research Program. Nature Medicine (2024)
กดติดตาม และ กดกระดิ่ง: https://bit.ly/45KZn3w
ติดตาม THE STANDARD PODCAST ในช่องทางอื่นๆ
Website: https://www.thestandard.co/podcast
Twitter: https://twitter.com/TheStandardPod
Facebook: https://www.facebook.com/thestandardth
TikTok: https://www.tiktok.com/@thestandard.podcast
Spotify: https://bit.ly/3NhRWZg
Apple Podcasts: https://bit.ly/42OGIkI
SoundCloud: https://soundcloud.com/thestandardpodcast
#นอนน้อยแต่มีคุณภาพ #ToptoToe #TheStandardPodcast #TheStandardTh #TheStandardCo #podcast